ชิดชนก ราฮิมมูลา, C. (2004, September 1). Peace Resolution : A Case Study of Separatist and Terrorist Movement in Southern Border Provinces of Thailand
การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี: กรณีศึกษาขบวนการแบ่งแยกดินแดนและการก่อการร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย . Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 10(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=34.

Peace Resolution : A Case Study of Separatist and Terrorist Movement in Southern Border Provinces of Thailand
การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี: กรณีศึกษาขบวนการแบ่งแยกดินแดนและการก่อการร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

Chidchanok Rahimmura
ชิดชนก ราฮิมมูลา,

Abstract

The Malay Kingdom of Pattani was annexed into the Kingdom of Thailand after a long war. The regime was authoritative and the policies and the implementation aimed at nationalism. The Malay Muslims were not allowed to maintain their identities. As a result, some Malay Muslims were up against such policies. This led to the period of genocide against Malay Muslim leaders, which then caused the separatist and terrorist movement. The Thai Government has redefined and redirected its policies towards the Malay Muslim in the southern border provinces of Thailand by accepting their cultural differences and encouraging them to participate in the community development projects aiming at improving the quality of life and economic situations, enhanced by the Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle Project. Although the policies have reduced the terroristsi activities, within this globalization, there are still some threats in the form of ideological warfare without arms through the Internet. Now, the “Way of peace” has been put into operation by the Thai Government, especially those responsible agencies for the national security. It can be said that the problems of different identities in the southern border provinces of Thailand have been solved by peaceful means in favour of democratic patterns.

Keywords : identities, peaceful means, separatist and terrorist movement, southern border provinces.

บทคัดย่อ ราชอาณาจักรมลายูปัตตานีได้ผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรไทย หลังจากการทำสงครามต่อสู้กันอย่างยาวนาน การปกครองในลักษณะอำนาจนิยม และใช้นโยบายเพื่อสร้างจิตสำนึกเรื่องชาตินิยม เนื่องจากชาวมลายูมุสลิมส่วนใหญ่ไม่สามารถรักษาเอกลักษณ์ของตนเองได้ ด้วยเหตุนี้ชาวมลายูมุสลิมส่วนหนึ่งได้ลุกขึ้นต่อต้านนโยบายชาตินิยมดังกล่าว ช่วงระยะเวลานี้เป็นยุคของการกวาดล้างผู้นำมลายูมุสลิมที่ต่อต้าน จึงเป็นสาเหตุให้เกิดขบวนการแบ่งแยกดินแดนและการก่อการร้ายขึ้น ปัจจุบันรัฐบาลไทยได้ให้คำจำกัดความปรับเปลี่ยนนโยบายที่มีต่อชาวมลายูมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยใหม่ โดยการยอมรับความแต่ต่างด้านวัฒนธรรม และส่งเสริมให้ชาวมลายูมุสลิมมีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาชุมชนต่าง ๆ โดยมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสถานะทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้น โครงการสามเหลี่ยมเศรษฐกิจของประเทศไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย มีส่วนทำให้ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น นโยบายดังกล่าวได้ทำให้การก่อการร้ายลดลง อย่างไรก็ตามภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ยังคงมีการต่อสู้ในรูปแบบของสงครามอุดมการณ์ ซึ่งเปลี่ยนจากการใช้อาวุธมาเป็นการเผยแพร่อุดมการณ์ผ่านอินเตอร์เน็ท ในปัจจุบัน “สันติวิธี” ได้รับการนำมาใช้ในการดำเนินงานของรัฐบาลไทยโดยเฉพาะหน่วยงานที่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบต่อความมั่นคงของชาติ กล่าวได้ว่า ปัญหาซึ่งเกิดจากความแตกต่างทางเอกลักษณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยสามารถแก้ไขได้ด้วยวิถีแห่งสันติและในแบบของประชาธิปไตย

คำสำคัญ: ขบวนการแบ่งแยกดินแดนและการก่อการร้าย, จังหวัดชายแดนภาคใต้, วิถีแห่งสันติ, เอกลักษณ์

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=34