อุทัย เอกสะพัง, .,
Choomsak Intarak, ., & and Omjai Wongmontha, P. (2006, February 11). รูปแบบและยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Model and Strategic Management for Comprehensive Societies in Three Southern Border Provinces. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=328.

รูปแบบและยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Model and Strategic Management for Comprehensive Societies in Three Southern Border Provinces

ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์, ไพฑูรย์ พัฒน์ใหญ่ยิ่ง อุทัย เอกสะพัง,
และ อ้อมใจ วงษ์มณฑา
Choomsak Intarak,
Paitoon Patyiying, Uthai Eksaphang and Omjai Wongmontha,

Abstract

This research was intended to analyze the model and strategies for comprehensive societies in the Chulapornpattana Villages Project and the Piyamit Villages Project. The samples were local leaders and the members of the eight villages, and related persons in the project. The data collected by in-depth interview and seminar technique, the data analyzed by rational qualitative analysis. The results were: 1. The model of the comprehensive societies was composed of 1) effective leaders 2) philosophical idea and principles 3) group cohesiveness and participation 4) the development of basic infrastructures 5) the career development and 6) the development for quality of life. These factors were effected to the strengthen of community or their villages, and could be the sustainable factors for comprehensive societies. 2. The strategies for community development were 1) the strategy for human resource and social development, 2) the strategy for development in ecology system and the environments 3) the strategy for participation development of the members and other agencies in solving problems and 4) the strategy for management. The researchers proposed for results implement that the community model should be suitable and related with the local context. The community should have the strategies for the strength and sustainment as the research findings. The model and strategic management could be imptemented for development other communities.
บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบ และยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบโดยศึกษากรณีตัวอย่างในหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา และหมู่บ้านปิยะมิตร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นำชุมชนของหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนาที่ 6, 9, 10, 12 และหมู่บ้านปิยะมิตร 1, 2, 3, และ 4 จำนวน 8 หมู่บ้าน การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และประชุมสัมมนาผู้เกี่ยวข้องระดมความคิดเห็น นำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยอาศัยเหตุผลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยสรุปผลได้ดังนี้ 1. รูปแบบของการจัดการสังคมสมบูรณ์แบบ มีองค์ประกอบดังนี้ 1) ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ 2) ชุมชนมีอุดมการณ์ แนวคิด หลักการ 3) การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน 4) มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 5) มีการพัฒนาอาชีพ และ 6) มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์ประกอบเหล่านี้ทำให้ชุมชนเข้มแข็งและสามารถที่จะพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าเป็นสังคมสมบูรณ์แบบ 2. ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาหมู่บ้านประกอบไปด้วย 1) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาศักยภาพคนและสังคม 2) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบนิเวศน์และสภาพแวดล้อม 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนา และ 4) ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการวิจัยไปใช้คือรูปแบบของชุมชนควรมีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับบริบททั่วไปของท้องถิ่น และต้องกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้เป็นชุมชนเข้มแข็งและยั่งยืนดังผลของการวิจัยที่กล่าวถึง ซึ่งอาจเป็นต้นแบบในการพัฒนาหมู่บ้านอื่น ๆ ต่อไป

คำสำคัญ: จังหวัดชายแดนภาคใต้, ยุทธศาสตร์การจัดการ, สังคมสมบูรณ์แบบ

Keywords: model for comprehensive societies, southern border provinces. strategy management

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบ และยุทธศาสตร์การจัดการสังคมสมบูรณ์แบบโดยศึกษากรณีตัวอย่างในหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา และหมู่บ้านปิยะมิตร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นำชุมชนของหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนาที่ 6, 9, 10, 12 และหมู่บ้านปิยะมิตร 1, 2, 3, และ 4 จำนวน 8 หมู่บ้าน การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และประชุมสัมมนาผู้เกี่ยวข้องระดมความคิดเห็น นำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยอาศัยเหตุผลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยสรุปผลได้ดังนี้ 1. รูปแบบของการจัดการสังคมสมบูรณ์แบบ มีองค์ประกอบดังนี้ 1) ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ 2) ชุมชนมีอุดมการณ์ แนวคิด หลักการ 3) การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน 4) มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 5) มีการพัฒนาอาชีพ และ 6) มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต องค์ประกอบเหล่านี้ทำให้ชุมชนเข้มแข็งและสามารถที่จะพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าเป็นสังคมสมบูรณ์แบบ 2. ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาหมู่บ้านประกอบไปด้วย 1) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาศักยภาพคนและสังคม 2) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบนิเวศน์และสภาพแวดล้อม 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนา และ 4) ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ ข้อเสนอแนะเพื่อนำผลการวิจัยไปใช้คือรูปแบบของชุมชนควรมีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับบริบททั่วไปของท้องถิ่น และต้องกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาให้เป็นชุมชนเข้มแข็งและยั่งยืนดังผลของการวิจัยที่กล่าวถึง ซึ่งอาจเป็นต้นแบบในการพัฒนาหมู่บ้านอื่น ๆ ต่อไป

คำสำคัญ: จังหวัดชายแดนภาคใต้, ยุทธศาสตร์การจัดการ, สังคมสมบูรณ์แบบ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=328