โชติวิสิทธิ์, . (2004, December 2). วอลแตร์และรูสโซ : เพื่อนรักเพื่อนแค้น. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 3(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=222.

วอลแตร์และรูสโซ : เพื่อนรักเพื่อนแค้น

อุบลวรรณ โชติวิสิทธิ์, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Abstract

วอลแตร์และรูสโซเป็นนักเขียน นักปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ของประเทศฝรั่งเศล ในคริสตศตวรรษที่ 18 ในตอนแรกทั้งสองมีความสัมพันธ์กันฉันมิตรแต่ในภายหลังตัดสัมพันธ์กัน และกลายเป็นศัตรูคู่แค้น เนื่องจากอุปนิสัยที่เข้ากันไม่ได้เลยและความแตกต่างกันในแนวคิดด้านศาสนา การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่อย่างไรก็ตามทั้งสองก็มีความคิดคล้ายกันพอสมควรในด้านเหล่านี้เช่นกัน และทั้งสองมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือต่างฝ่ายต่างต่อสู้ตามวิถีทางของตนเพื่อให้เกิดความยุติธรรม และขันติธรรมใจสังคม คำสำคัญ : ศตวรรษที่ 18 แห่งฝรั่งเศล วอลแตร์ รูสโซ นักคิด นักเขียน นักปรัชญา ความยุติธรรมและขันติธรรมในสังคม Voltaire and Rousseau were two of the greatest writers, thinkers and philosophers of the Age of the Enlightenment (the eighteenth century) in France. At the beginning of their relationship, they were on good terms, but, because of their incompatible characters and their differences in their religious, political, economic, social and cultural thinking, they later broke off their relationship. However, despite their conflicts, they do have some ideological and intellectual beliefs in common. And they both, especially Voltaire, tried all their lives, each in his own way, to bring about justice and tolerance to society. Keywords : Eighteenth-century France, Voltaire, Rousseau, writers, thinkers, philosophers, just and tolerant society.

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=222