Pakawanit, ., & Pralomkarn, W. (2004, December 1). A Feasibility Study of Raising Goats as Farm Animals in Thailand. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 4(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=202.

A Feasibility Study of Raising Goats as Farm Animals in Thailand

Taweewit Pakawanit, Institute of Management Science
Winai Pralomkarn, Institute of Agricultural Technology, Walailak University

Abstract

In this study, an attempt was made to evaluate the feasibility of raising goats under improved farm management conditions in Thailand. Economic analysis for 2 major types of goat production programs (breeding and non-breeding stock) were made. Internal rate of return (IRR), net present value (NPV), benefit cost ratio (B/C), payback period and break-even point were considered. It was found that raising goats as non-breeding stock was more productive than raising goats as breeding stock. However, breeding stock in which all weaners and all finishing were raised on farm in temporary housing with grazing and with cut and carry methods also yielded good returns, with IRR=18.90 and 27.33% NPV= 162,033 and 272.033 baht : B/C ratio = 1.14 and 1.27 ; payback period = 7 and 5 years ; and bread-even point = 69.38 and 65.57 baht/kg live-weight, respectively. It was suggested that the government sector should increase the breeding stock farms to provide weaners for the small-land holders. Keywords : goat, goat farm, Thai goat, feasibility การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจของการเลี้ยงแพะระดับฟาร์มในประเทศไทยภายใต้เงื่อนไขการจัดการที่ดี ทำการวิเคราะห์ทั้งการผลิตโดยเลี้ยงพ่อและแม่พันธุ์ และการซื้อลูกแพะหย่านมเพื่อเลี้ยงขุน โดยมีอัตราผลตอบแทนภายใน (internal rate of return) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (net present value) อัตราส่วนระหว่างผลตอนแทนต่อต้นทุน (benefit cost ratio) ระยะเวลาคืนทุน (payback period) และจุดคุ้มทุน (break-even point) เป็นดัชนีสำหรับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ จากการศึกษาพบว่า การซื้อลูกแพะหย่านมเพื่อเลี้ยงขุดจะให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกว่าการเลี้ยงพ่อ และแม่พันธุ์ อย่างไรก็ตามการเลี้ยงพ่อและแม่พันธุ์ผลิตลูกเพื่อขุนขายทั้งหมด โดยสร้างโรงเรียนชั่วคราว และปล่อยให้แพะแทะเล็มกับกรณีที่สร้างโรงเรือนชั่วคราวแต่ตัดหญ้าเลี้ยง ยังให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่น่าสนใจต่อการลงทุน มีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 18.90% และ 27.33% มูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 162,033 และ 272,033 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 1.14 และ 1.27 ระยะเวลาคืนทุนเทากับ 7 และ 5 ปี และจุดคุ้มทุนเท่ากับ 69.38 และ 65.57 บาทต่อน้ำหนักแพะเพิ่ม 1 กิโลกรัม ตามลำดับ แนะนำให้ภาคราชการเพิ่มการผลิตพ่อและแม่พันธุ์เพื่อนำลูกแพะหย่านมจำหน่ายให้เกษตรกร คำสำคัญ : แพะ, ฟาร์มแพะ, แพะไทย, ความเป็นไปได้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=202