B. Albritton, R., & Mahakanjana, C. (1970, January 1). Impacts of Social and Economic Policy on Income Inequality in Thailand. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 6(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=138.

Impacts of Social and Economic Policy on Income Inequality in Thailand

Robert B. Albritton, Department of Political Science, University of Mississippi
Chandranuj Mahakanjana, Department of Political Science, Northern Illinois University

Abstract

This paper addresses the rise and decline of income inequality in Thailand, based upon studies by Nanak Kakwani and Medhi Krongkaew describing the patterns of income inequality during the past three decades. In addition, it examines Yukio Ikemoto’s claim that the pattern largely conforms to the Kuznets model claiming that, while economic development initially produces increasing income inequality, there is an asymtotic point, after which economic growth produces declines in income inequality. The paper tests this model in the Thai case and addresses the discourse holding that economic growth has negative impacts on lower status people within national populations. Keywords: social and economic policy, income inequality บทความนี้กล่าวถึงภาวะการเพิ่มขึ้นและลดลงของความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ในประเทศไทยโดยอาศัยข้อมูลจากการศึกษาของ Nanak Kakwani และ Medhi Krongkaew ที่อธิบายถึงลักษณะของความเลื่อมล้ำด้านรายได้ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์ข้อกล่าวอ้างของ Yukio Ikemoto ที่ว่าลักษณะดังกล่าวส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกับรูปแบบของ Kuznets ที่ระบุว่า ในขณะที่การพัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยก่อให้เกิดความเลื่อมล้ำด้านรายได้ในตอนเริ่มต้น แต่ก็ไม่มีจุดใดที่บ่งบอกว่าการลดลงของความเลื่อมล้ำสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กรณีของประเทศไทยได้รับการทดสอบโดยใช้รูปแบบของ Kuznets โดยได้นำเสนอในบทความนี้ และอาจจะกล่าวได้ว่าการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อชนชั้นล่างของประเทศ และในขณะที่การขยายตัวของความเหลื่อมล้ำเป็นเพียงผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะสั้น แต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะทำให้ความเหลื่อมล้ำลดลงในระยะยาว ซึ่งผลของการวิเคราะห์นี้สอดคล้องกับสมมุติฐานของ Kuznets บทความนี้ยังได้กล่าวถึงสมมุติฐานอีกประการ กล่าวคือ การจ่ายค่าสวัสดิการทางสังคมเป็นปัจจัยที่ช่วยลดความเลื่อมล้ำ โดยได้ทดสอบสมมุติฐานด้วยการวิเคราะห์ตามรูปการแบบอนุกรมเวลา ARISMA ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า การลดลงของความเลื่อมล้ำมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาด้านระบบประกันสังคมในประเทศไทย โดยที่ไม่เกี่ยวพันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ บทสรุปของบทความประกอบด้วยการอภิปรายผลการศึกษา และแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ คำสำคัญ : นโยบายเศรษฐกิจและสังคม, ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=138