Sugunnasil, W. (1970, January 1). Fishing communities in Southern Thailand: Changes and Local Responses. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 6(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=132.

Fishing communities in Southern Thailand: Changes and Local Responses

Wattana Sugunnasil, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince

Abstract

The emergence ad expansion of world market and the rapid adoption of new production technologies in marine fisheries have produced major technological and socio-economic transformation in many coastal states in Asia, particularly in Thailand which has a long maritime tradition, and a large number of fishing communities and fishers. Processes of fisheries modernization and commercialization and state policy of export-led development, while quickly establishing Thailand as one of the world’s top ten major fishing countries have however resulted in serious problems of overfishing and depletion of fish resources, which in turn meant loss of productivity and incomes for the majority of small-scale, coastal fishers. This paper’s specific focus is to explore the responses these impacts have generated from small-scale, coastal fishing communities. The paper also discusses prospects and problems associated with alternative development efforts put forward by non-governmental organizations working among coastal fishing communities. The paper is divided into three parts. The first gives the background of Thailand’s fishing economy. The second part deal with the impacts of technological development and commercialization within fisheries and small-scale coastal fishing communities. Finally, the third part briefly reviews and discusses frameworks for understanding of resource management, experiences of community-based resources management as alternative development strategies, and relevant research issues. Keywords: fishing communities, fisheries development, development alternatives, community resource management การขยายตัวของตลาดโลกและการนำเอาเทคนิคเครื่องมือใหม่ ๆ มาใช้ในการทำประมงจับสัตว์น้ำ ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมขึ้นอย่างขนานใหญ่ในกลุ่มประเทศชายฝั่งแถบเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทยซึ่งมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่พึ่งพาการทำประมงมายาวนานและมีชุมชนชาวประมงอยู่เป็นจำนวนมาก แม้ว่านโยบายรัฐที่มุ่งเน้นการส่งออก การพัฒนาความทันสมัยและการส่งเสริมการผลิตเชิงพานิชย์ในภาคประมงจะทำให้ประเทศไทยกลายเป็น 1 ใน 10 ประเทศที่จับสัตว์น้ำได้สูงสุดของโลกในช่วงเวลาอันสั้น แต่ก็ได้ก่อให้เกิดผลเสียตามมาหลายประการ อาทิ การจับสัตว์น้ำเกินขนาด สภาพร่อยหรอและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรสัตว์น้ำ ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงชายฝั่ง ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ในภาคประมง บทความนี้มีวุตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาถึงปฏิกิริยาที่ชุมชนประมงขนาดเล็กแถบชายฝั่งมี่ต่อปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมทั้งวิเคราะห์ลู่ทาง ปัญหาและข้อจำกัดของทางเลือกและแนวทางการพัฒนาประมงขนาดเล็กที่องค์กรพัฒนาเอกชนกำลังดำเนินการอยู่ในชุมชนประมงชายฝั่ง เนื้อหาของบทความแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการอภิปรายความเป็นมาและลักษณะสำคัญของเศรษฐกิจการประมงของประเทศไทย สาระของส่วนที่สองเกี่ยวข้องกับผลกระทบอันเนื่องจากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและการประมงเชิงพานิชย์ที่เกิดขึ้นกับชุมชนประมงชายฝั่ง ส่วนที่สามเป็นการสำรวจและอภิปรายแนวคิดเรื่องการจัดทรัพยากร ประสบการณ์ในการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนในฐานะที่เป็นทางเลือกและแนวทางการพัฒนาใหม่ ๆ ตลอดจนประเด็นคำถามการวิจัยที่น่าสนใจ คำสำคัญ : ชุมชนประมง, การพัฒนาประมง, ทางเลือกการพัฒนา, การจัดทรัพยากรชายฝั่ง, การจัดทรัพยากรโดยชุมชน

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=132